บทความ

AS/RS

รูปภาพ
ระบบ AS/RS AS/RS     ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ   (Automated Storage/Retrieval System  เรียกโดยย่อว่า  AS/RS)   คือ   การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ  AS/RS  จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์  AS/RS  ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ระบบ  AS/RS  แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้ - Unit Load AS/RS - Miniload AS/RS - Man-on-Board AS/RS  หรือ  Manaboard AS/RS - Automated Item Retrieval System - Deep-Lane AS/RS          องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ  AS/RS 1.        โครงสร้างที่เก็บวัสดุ  (Storage Structure) 2.        เครื่อง  S/R (Storage/Retrieval Machine) 3.        หน่วยของการเก็บวัสดุ  (Storage Module) 4.        สถานีหยิบและฝากวัสดุ  (Pickup and Deposit Stati

รถ AGV

รูปภาพ
ระบบ AGV   (Automated Guided Vehicle System  หรือ AGVS) เป็นระบบขนถ่ายวัสดุที่ใช้รถที่ทำงานได้โดยอิสระต่อกัน   ขับเคลื่อนด้วยตนเอง   ซึ่งถูกนำทางด้วยเส้นทางขนส่งที่ฝังอยู่บนพื้นโรงงาน   รถจะใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ที่ติดตั้งอยู่บนตัวรถซึ่งจะทำให้รถวิ่งได้ประมาณ 8-10 ชั่วโมง ก่อนที่จะมีการอัดแบตเตอรี่ใหม่      - Driverless Train    - AGV Pallet Track    - AGVS Unit Load Carrier การนำทางของ AGV 1. ใช้สายไฟฟ้าและเซ็นเซอร์แม่เหล็ก 2. ใช้แถบสีและเซ็นเซอร์แสง 3. ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ควบคุมรอบหมุนของล้อ การควบคุมการจราจรและความปลอดภัย 1. วิธีตรวจจับรถที่อยู่ข้างหน้า (On-Board Vehicle Sensing หรือ Forward Sensing) 2. วิธีการโซน (Zone Blocking) - กันชนฉุกเฉิน - สัญญาณเตือน - ระบบหยุดเมื่อออกนอกเส้นทาง การบริหารระบบ 1. ควบคุมจากแผงควบคุมที่อยู่บน AGV (On-Board Control Panel) 2. เรียกจากสถานีที่อยู่ห่างไกล   (Remote Call Station) 3. ควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง   (Central Computer Control) ตัวอย่างคลิป

การลำเลียง

รูปภาพ
ระบบสายพานลำเลียง - มีจุดรับส่งโหลดตายตัว - มีเส้นทางการส่งวัสดุตายตัว - มักจะใช้ส่งงานเป็นชิ้น - อาศัยการทำงานทางกล บางครั้งมีการทำงานให้เป็นอัตโนมัติ - มีทั้งการติดตั้งบนพื้นและเหนือศีรษะ - การขับเคลื่อนจะเกิดที่สายพาน ตัวอย่างคลิป

เครื่องจักร NC CNC DNC =w=

รูปภาพ
เครื่องจักร NC ความหมายของ NC NC   ย่อมาจาก  Numerical Control  หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง  NC  ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม  NC.  ระบบ  NC  ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1950  ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ  NC  จะถูกแทนที่ด้วยระบบ  CNC  เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ  NC  ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน  อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย  NC   ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว. ตัวอย่างคลิปการทำงานของNC เครื่องจักรCNC CNC ย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึง การควบคุมการทำงานของเครื่องจักรด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบอิเลคทรอนิกส์ จะทำการประมวลผล และ สั่งการเพื่อให้เครื่องจักรทำงาน หรือ เกิดการเคลื่อนที่จากชุดคำสั่งต่าง ๆ หรือ กระทำตามเงื่อนใขที่ถูกกำหนด หลักการทำงาน ของ CNC การผลิตชิ้นงานจะถูกควบคุมการสั่งการด้วย Computer ประกอบด้วย ระยะของการเคลื่อนที่ต่างๆ หร

หุ่นยนต์

รูปภาพ
หุุ่นยนต์ คือเครื่องยนต์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ หรืออาจมีการตั้งค่าให้หุ่นยนต์สามารถตัดสินใจได้เองในระดับใดระดับหนึ่ง การควบคุมระบบต่าง ๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ สามารถทำได้โดยทางอ้อมและอัตโนมัติ โดยทั่วไปหุ่นยนต์ถูกสร้างขึ้นเพื่อสำหรับงานที่มีความยากลำบากหรืออันตรายเช่น งานสำรวจในพื้นที่บริเวณแคบ งานสำรวจในบริเวณที่เกิดภัยพิบัติ หรืองานสำรวจบนผิวของดวงจันทร์หรือดาวเคราะห์ที่ต่างๆ ปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนต์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว หุ่นยนต์เริ่มเข้ามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์ในหลากหลายด้าน เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิต ด้านการแพทย์ ด้านงานสำรวจทั้งในโลกเราและงานสำรวจในอวกาศ หรือด้านการบันเทิง เช่นหุ่นยนต์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องเล่นของมนุษย์ ปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาให้หุ่นยนต์นั้นมีลักษณะที่คล้ายมนุษย์มากขึ้นเพื่อผลทางจิตวิทยาในการอาศัยอยู่ร่วมกันกับมนุษย์ในชีวิตประจำวัน หุ่นยนต์อาจถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ  1.ห

รายชื่อ เพื่อนนนนนนนนน =w=

สมาชิกในห้อง อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค          อาจารย์ปามล์ม     นาย ธีรภัทร บุญช่วย              ทีน นางสาว รุสมี  เขร็มกา             มี่ นางสาว  สุนิษา  ฟองมณี ปาล์ม นาย ณัฐรินทร์ ลือวิพันธ์            แทน นาย  นนธวัช อินทรงค์            นน นาย อิทธิกร วิจารณบูรณ์            อาท นาย ปิยะณัฐ ช่วยมั่ง                โดม นาย วัสพล ศรีวรรณ                ดิว นาย วรโชติ โภชน์สารี             คิม นาย ณัฐวัฒน์ หนูประพันธ์         คอม นาย พลธกร ปานจรูญ              โน นางสาว สุทธิดา หนูปลอด         หมิว นางสาว ขนิษฐา แดงนำ             นิ้ง นาย อิมรอม เบ็นหมัดหนิ          รอน นางสาว สุวดี ทองรักษ์             เดียร์ นาย อนุชา สุภาพบุรุษ            ก๊อต นาย ภูริทัติ ศรีสวัสดิ์              ภู นางสาว เบญา ทองย้อย        บัว นางสาว หิรัณยา บุญแก้ว       บีม นาย วีรวัฒน์ เสาวคนธ์         แม็ค นาย ศราวุธ บูหมิ                  ฟิก นาย พงศ์ศิริ ปิ่นพงค์           เต้ย นางสาว กนิษฐา หนูนุ่น       ฝนตก นาย สถาพร ดำคง             หนึ่ง